MIDAS MedInno Hackathon 2025 | Innovate and Elevate
February 15-16, 2025
งานประกวดนวัตกรรมด้านการแพทย์
ชิงรางวัลรวมมูลค่ากว่า 1.4 ล้านบาท
ชิงรางวัลรวมมูลค่ากว่า 1.4 ล้านบาท
เปิดรับผลงานถึง
วันที่ 31 ตุลาคม 2567
วันที่ 31 ตุลาคม 2567
วัน
ชั่วโมง
นาที
วินาที
Overview
ขอเชิญนักวิจัยทั้งภาครัฐและเอกชน สมัครเข้าร่วมประกวด
นวัตกรรมด้านการแพทย์ในงาน Medical Innovation Hackathon
2025 โดยส่ง Abstract แนะนำนวัตกรรมที่อยู่ระหว่างการวิจัยและพัฒนา
ชิงเงินรางวัลรวมมูลค่ากว่า 1.4 ล้านบาท
นวัตกรรมที่ผ่านการคัดเลือก จะได้เข้าสู่กระบวนการพิจารณา
ให้ทุนสนับสนุนงานวิจัยโดย TCELS พร้อมการประเมินความคุ้มค่า ทางเศรษฐศาสตร์นวัตกรรม
ด้านการแพทย์โดย MIDAS
พบกัน วันที่ 15-16 กุมภาพันธ์ 2568 พร้อมกิจกรรมพิเศษในวันงาน ได้แก่
การบรรยายเชิงปฏิบัติการจากภาคอุตสาหกรรมและภาคการศึกษา งานแสดงผลงาน
และการประกวดนวัตกรรมด้านการแพทย์และสุขภาพ
ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเป็น
สุดยอดนวัตกรรมด้านการแพทย์
จะได้รับรางวัลดังนี้
#1
เงินรางวัล
รางวัลที่ 1
500,000
บาท
รางวัลที่ 2
300,000
บาท
รางวัลที่ 3
200,000
บาท
รางวัลที่ 4
150,000
บาท
รางวัลที่ 5
100,000
บาท
รางวัลชมเชย
30,000
บาท
จำนวน 5 รางวัล
#2
โอกาสต่อยอดงานวิจัย
กับหน่วยงานชั้นนำ
ระดับประเทศ
กับหน่วยงานชั้นนำ
ระดับประเทศ
เข้าสู่กระบวนการพิจารณาเพื่อให้ทุนวิจัยสำหรับพัฒนานวัตกรรมต่อไป โดย
TCELS
การประเมินความคุ้มค่าทาง เศรษฐศาสตร์เพื่อการผลิต
นวัตกรรมด้านการแพทย์โดย MIDAS
#3
โอกาสในการร่วมลงทุนกับ
ภาคเอกชน
ภาคเอกชน
Abstract Submission
คุณสมบัติ
- เป็น Innovation ที่ยกระดับ (Elevate) ระบบสุขภาพ
- มี Innovation ในระดับ TRL 5 - 9
- กำหนดสมาชิกทีมละ 2 - 4 คน (บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล)
- สมาชิกในทีมต้องสามารถเข้าร่วม on-site ได้ทั้ง 2 วัน
- สามารถส่งผลงานเข้าร่วมได้ไม่จำกัดจำนวน
Timeline
-
31 ตุลาคม 2567ปิดรับผลงานเข้าประกวด
-
15-30 พฤศจิกายน 2567ประกาศผล semifinal 20 ทีม
-
1 – 15 ธันวาคม 2567Online Pitching Challenge
-
15 มกราคม 2568ประกาศผล Finalists 10 ทีม
-
15-16 กุมภาพันธ์ 2568MIDAS MedInno Hackathon และกิจกรรมพิเศษ
เงื่อนไข
ทีมนักพัฒนานวัตกรรม (2-4 คน/ทีม)*
ที่มีผลงานวิจัยด้านนวัตกรรมการแพทย์และสุขภาพที่มีระดับความพร้อมของเทคโนโลยี TRL 5 - 9
โดยหน่วยงานของไทย สถาบันวิจัยไทยสถาบันการศึกษาของไทย หรือภาคเอกชนไทย
*หมายเหตุ: สามารถส่งผลงานเข้าร่วมได้ไม่จำกัดจำนวน
นวัตกรรมที่เปิดรับสมัคร
- ยา ชีววัตถุ (Medicines, Biologics, ATMPs)
- วัคซีน (Vaccines)
- สารสกัดสมุนไพร (Herbal Extracts)
- อาหารเสริม (Nutraceuticals)
- เครื่องมือแพทย์ (Medical Devices, Appliances and Instruments)
- วัสดุทางการแพทย์ (Medical Consumables and Supplies)
- Digital Health Platforms and Applications
ระดับความพร้อมทางเทคโนโลยี Technology Readiness
Level (TRL)
- TRL 5: องค์ประกอบที่สำคัญของผลิตภัณฑ์ได้ทดสอบและสาธิตในสภาวะที่ใกล้เคียงสภาวะจริง
- TRL 6: ต้นแบบผลิตภัณฑ์ที่เสร็จได้ถูกทดสอบและสาธิตในสภาวะที่เกี่ยวข้อง
- TRL 7: ต้นแบบผลิตภัณฑ์ทดสอบในสภาวะจริงและผ่านการทดสอบทางคลินิก
- TRL 8: การผลิตในระดับอุตสาหกรรมพร้อมระบบสมบูรณ์และผ่านการ ทดสอบได้รับอนุญาตการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์
- TRL 9: การใช้งานผลิตภัณฑ์จริงที่พร้อมวางตลาดและติดตาม ผลอย่างต่อเนื่อง
เอกสารประกอบการสมัคร
- Abstract (ความยาวไม่เกิน 1 หน้า A4)
- รูปภาพ MVP/Prototype (หากมี)
- Business Model Canvas (หากมี)
Agenda
Coming soon
Logistics
Coming soon
Who we are
MIDAS
Medical Innovation Development and Assessment Support
เป็นหน่วยงานภายใต้มูลนิธิเพื่อการประเมิน
เทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข MIDAS
เป็นหน่วยงานแห่งเดียวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มี
ความเชี่ยวชาญในการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพเพื่อการผลิตนวัตกรรม (Early Health
Technology Assessment) เพื่อสนับสนุน
และยกระดับการพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์ และการบริการสุขภาพผ่านการ
บูรณาการความร่วมมือในหลากหลายสาขา
โดยเน้นเสาะหาเทคโนโลยีด้านสุขภาพที่น่าจับตามอง ส่งเสริมการวิจัยที่ ทันสมัย
และสนับสนุนงานวิจัยต่อยอด
พร้อมประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของนวัตกรรมทางการแพทย์ และการบริการสุขภาพ
ตั้งแต่ในระยะพัฒนานวัตกรรม
ติดต่อ
MIDAS
HITAP
Health Intervention and Technology Assessment Program หรือ
โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบาย ด้านสุขภาพ
เป็นองค์กรวิจัยกึ่งอิสระ ภายใต้สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มีพันธกิจหลักในการศึกษาผลกระทบ
ทั้งบวกและลบที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีหรือนโยบายด้านสุขภาพ
และนำข้อมูลดังกล่าวไปนำเสนอเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
ด้านนโยบายของภาครัฐ เช่น คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และหน่วยงานต่าง ๆ
ภายใต้กระทรวงสาธารณสุข นอกจากนี้ HITAP ยังทำงานในระดับนานาชาติ โดยเฉพาะในประเทศ
กำลังพัฒนา
โดยเน้นการเข้าไปสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพให้ประเทศเหล่านั้น สามารถทำการประเมินเทคโนโลยี
ด้านสุขภาพด้วยตนเอง
ติดต่อ HITAP
MEDCHIC
MED CMU Health Innovation Center หรือ ศูนย์นวัตกรรมสุขภาพ
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เป็นศูนย์นวัตกรรมเพื่อพัฒนาคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ให้เป็น
"โรงเรียนแพทย์แห่งนวัตกรรม"
โดยผลักดันการพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์ เทคโนโลยีด้านสุขภาพ และ ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ
พร้อมทั้งการพัฒนา
ย่านนวัตกรรมทางการแพทย์สวนดอก (SMID) ร่วมกับสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
ติดต่อ
MEDCHIC
TCELS
Thailand Center of Excellence for Life Sciences
หรือศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ เป็นองค์การมหาชน
ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จัดตั้ง
เพื่อเชื่อมโยงศูนย์กลางของนวัตกรรมและการลงทุน
เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่พันธมิตรทั้งในและต่างประเทศ
ติดต่อ TCELS